1จระเข้ อีพ็อกซี่-ซีล
Crocodile Epoxy-Seal
กาวอีพ็อกซี่เสียบเหล็ก และยึดติดวัสดุต่างๆ
จระเข้ อีพ็อกซี่-ซีล เป็นกาวอีพ็อกซี่ 2 ส่วน ผสมประกอบด้วย ส่วน A และ B โดยผสมทั้งสองส่วนให้เข้ากันก่อนใช้งาน จะได้เนื้อครีมข้นสีเทา ใช้ในการยึดติดวัสดุต่างๆ เช่น คอนกรีต เหล็ก หิน กระเบื้อง เหมาะสำหรับการยึดเหล็กเสียบโครงสร้าง ซ่อมรอยแตกคอนกรีต และซ่อมเกลียวสลักยึด ซ่อมกระเบื้องที่หลุดล่อน บนพื้นเปียก หรือติดกระเบื้องที่หลุดในน้ำ
คุณลักษณะพิเศษ
• ใช้ยึดติดวัสดุต่างๆ เช่น คอนกรีต เหล็ก หิน กระเบื้อง
• เหนียวไม่ไหลย้อย
• ใช้งานง่าย เพียงผสม 2 ส่วนเข้าด้วยกัน
ลักษณะการใช้งาน
• ใช้ยึดติดวัสดุชนิดต่างๆ อาทิเช่น
o เหล็กกับคอนกรีต เช่น การเจาะเสียบเหล็ก
o หินกับคอนกรีต
o กระเบื้องขนาดใหญ่ เช่น การปูแกรนิตบนผนัง
• ใช้โป๊วแต่งคอนกรีตที่บิ่นเสียหาย
ข้อแนะนำในการทำงาน
• พื้นผิวต้องแข็งแรง สะอาด ปราศจากฝุ่น คราบสีน้ำมัน สี เศษปูนฉาบ หรือยิปซั่ม
• วัสดุที่จะนำมาติดต้องแห้ง สะอาด ไม่มีกลิ่น ห้ามใช้ติดวัสดุที่มีผิวที่ร่วน หรือเป็นฝุ่นได้ง่าย
การเตรียมวัสดุ และการทำงาน
• ผสมส่วน A และ B ให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน แนะนำให้ใช้เครื่องผสมรอบต่ำ หลังจากผสมจะได้เนื้อครีมข้นสีเทา ควรใช้ให้หมด ภายใน 20-30 นาที หลังจากผสม
การทำงาน
• ทากาวที่ผสมแล้วลงบนพื้นผิวให้ทั่ว ให้ได้ความหนาสม่ำเสมอ ควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าไม่มีช่องว่างระหว่าง พื้นผิวกับวัสดุที่นำมาติด ถ้ามีความจำเป็นให้ยึดวัสดุไว้ชั่วคราวระหว่างที่กาวยังไม่แห้ง เพื่อป้องกันไม่ให้วัสดุนั้นเคลื่อนจากตำแหน่งที่ต้องการ
• กรณียึดเหล็กเสียบในแนวดิ่ง ให้กรอกอีพอกซี่ในรูที่เจาะไว้ก่อนแล้วเสียบเหล็ก
• กรณียึดเหล็กในแนวตั้ง ให้จุ่มเหล็กในอีพ็อกซี่ให้ทั่วก่อนนำไปเสียบรูที่ผนัง
อัตราการใช้งาน
1.5 / กก. / ตร.ม. / ความหนา 1 มม.
ข้อควรระวัง
• อุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับการทำงาน 5-40 °C
• ทำความสะอาดอุปกรณ์ด้วยสารละลายทินเนอร์
• ควรเก็บให้พ้นมือเด็ก
ศาสตราจารย์ คณาเดช 35 ปีที่โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ
อายุรแพทย์โรคหัวใจ อายุรแพทย์ (แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว) นักบำบัดโรค แพทย์ประจำคลินิก มีวิธีการที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพในการวินิจฉัยและรักษาโรคที่หลากหลายในเด็กและผู้ใหญ่ เขาเป็นหนึ่งในเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านปัญหาความพิการชั่วคราว คุณภาพของการรักษาพยาบาล เขามีความรู้ทางด้านโรคหัวใจและทางเดินอาหาร เขารู้ดีถึงปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ใช้วิธีตรวจสอบ Holter และตรวจวัดความดันโลหิตทุกวัน
ทักษะผู้เชี่ยวชาญ:
ความดันโลหิตสูงในทุกรูปแบบ รวมถึงความดันโลหิตสูงในหลอดเลือดแดงทุติยภูมิ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
การรบกวนจังหวะการเต้นของหัวใจ
โรคหัวใจอุดกั้นเรื้อรัง
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่างแบบเฉียบพลัน
โรคหอบหืด
โรคกระเพาะเรื้อรังและแผลในกระเพาะอาหาร
ไตวายเรื้อรัง
ความผิดปกติของลำไส้ทำงาน
โรคกระดูกพรุน