ปูกระเบื้องภายนอกอาคาร เป็นการปูกระเบื้องที่ท้าทายช่างปูกระเบื้องหลายๆคน เพราะเป็นบริเวณที่จะเจอ ลม แดด ฝน ตลอกเวลา ซึ่งนั่นก็คือบทพิสูจน์ว่า จะสามารถเป็น ช่างมือ1 ได้หรือไม่ และในอีกทางหนึ่งเจ้าของบ้านจะภูมิใจในความงดงานกระเบื้องหน้าบ้านที่เลือกมาประดับตกแต่งบ้านให้สวยงาม หรือจะอายกับคราบขาวที่สกปรกผิวกระเบื้อง
คราบขาวหรือที่เรียกว่าคราบขี้เกลือ เกิดได้อย่างไร
คราบเหล่านี้เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างปูนซีเมนต์ น้ำ และออกซิเจน หรือที่เรียกว่าปฏิกิริยาไฮเดรชั่น และคาย CaCO3 ออกมาหรือที่เรียกว่าคราบขาว หรือที่ชาวบ้านเรียกว่าคราบขี้เกลือ
หลังจากการปูกระเบื้องเสร็จเรียบร้อยแล้ว คราบขาวมาได้อย่างไร
1.ปัจจัยจากการทำงาน
วิธีการปูกระเบื้อง
2.ปัจจัยจากสภาพแวดล้อม ทั้งอุณหภูมิ ความชื้นในอากาศ และบริเวณที่อยู่ใกล้บริเวณที่มีเกลืออยู่เยอะ เช่น ริมทะเล เป็นต้น
การแก้ปัญหา “คราบขาว” ควรเริ่มตั้งแต่การวางแผนการก่อสร้างจะดีที่สุด คือ
1. ต้องทราบบริเวณที่จะก่อสร้างว่า อยู่ใกล้แหล่งน้ำที่มีเกลือผสมอยู่หรือเปล่า
2. ใช้น้ำยากันซึมร้วมกับน้ำยาประสานคอนกรีต คือ นำหินที่จะปูไปแข่ในน้ำยากันซึมทั้งแผ่น เเล้วตากให้แห้ง ทานำยาประสานบนพื้นผิวปูน หมั่นเช็ดทำความสะอาดเพื่อไม่ให้เกิดคราบ ทิ้งให้คอนกรีตแห้งจึงทำงานขั้นต่อไป
หรือวิธีที่ง่ายกว่า เพียงใช้
กาวซีเมนต์ จระเข้เนเจอรัล สโตนเมท ในการปูกระเบื้องที่มีคุณสมบัติ ป้องกันการเกิดคราบขาวและคราบเกลือจากน้ำปูนด้วย WCAC technology และนำให้ใช้คู่กับ
กาวยาแนว จระเข้ เทอร์โบพลัส ที่เป็นกาวยาแนวที่ป้องกันการเกิดคราบขาวและสารไฮโดรโฟบิกลดการแทรกซึมของน้ำ เนื้อยาแนวสามารถไหลตัวได้ดี และสารไมโครแบนยับยั้งการเกิดราดำ และตะไคร่น้ำ
เพียงเท่านี้ปัญหาคราบขาวก็ไม่กลับมากวนใจคุณอีก
ศาสตราจารย์ คณาเดช 35 ปีที่โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ
อายุรแพทย์โรคหัวใจ อายุรแพทย์ (แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว) นักบำบัดโรค แพทย์ประจำคลินิก มีวิธีการที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพในการวินิจฉัยและรักษาโรคที่หลากหลายในเด็กและผู้ใหญ่ เขาเป็นหนึ่งในเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านปัญหาความพิการชั่วคราว คุณภาพของการรักษาพยาบาล เขามีความรู้ทางด้านโรคหัวใจและทางเดินอาหาร เขารู้ดีถึงปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ใช้วิธีตรวจสอบ Holter และตรวจวัดความดันโลหิตทุกวัน
ทักษะผู้เชี่ยวชาญ:
ความดันโลหิตสูงในทุกรูปแบบ รวมถึงความดันโลหิตสูงในหลอดเลือดแดงทุติยภูมิ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
การรบกวนจังหวะการเต้นของหัวใจ
โรคหัวใจอุดกั้นเรื้อรัง
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่างแบบเฉียบพลัน
โรคหอบหืด
โรคกระเพาะเรื้อรังและแผลในกระเพาะอาหาร
ไตวายเรื้อรัง
ความผิดปกติของลำไส้ทำงาน
โรคกระดูกพรุน