พื้นลื่น จุดเล็กๆที่ควรใส่ใจ

Rate this post

บ้านเป็นพื้นที่ที่ให้ความปลอดภัยสูงสุดแก่ผู้อยู่อาศัย เพราะบ้านมีผู้พักอาศัยที่อาจจะไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เท่าที่ควร เช่น เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ เป็นต้น มีหลังคา มีผนัง ที่คอยปกป้องแดดฝน หรือสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง ป้องป้องจากสัตว์ร้าย แต่มีสถิติหนึ่งที่ถูกเปิดเผยโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติเผยว่า ผู้สูงอายุเคยหกล้มจากการลื่นล้มในบ้าน จำนวน 398,810 คน ในจำนวนนี้ มีผู้เสียชีวิตจากการลื่นล้มในบ้านกว่า 1,600 คน เพราะการลื่นล้มอาจทำให้กระดูกแตกหักและเกิดการกระทบกระเทือนกับร่างกายอย่างรุนแรงได้ครับ นับว่าการลื่นล้มเป็นอุบัติเหตุที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตมากเป็นอันดับ 2 รองจากอุบัติบนท้องถนนเลยทีเดียว โดย 1 ใน 3 เป็นที่ผู้มีอายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไป ดังนั้น บ้านอาจจะไม่ใช้พื้นที่ที่ปลอดภัยที่สุด แต่เราสามารถป้องกันการเกิดอุบัติเหตุภายได้บ้าน โดยใส่ในในจุดเสี่ยงต่างๆภายในบ้าน

จุดเสี่ยงที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุจากการลื่นล้มในบ้าน 3 จุดที่ควนใส่ใจ
1.   ห้องน้ำ   อย่าปล่อยให้พื้นเปียกลื่น เพราะอาจทำให้หกล้ม
2.   บันได       ต้องไม่ลื่น ไม่ชัน มีราวจับป้องกันการพลัดตก
3.   ทางเดิน   เป็นพื้นเรียบ ไม่เล่นระดับเยอะ วัสดุปูพื้นไม่ลื่นไม่มัน

พื้นที่ 3 จุดนี้ส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่ปูกระเบื้อง ถ้าหากมีน้ำหกหรือพื้นเปียกน้ำเช่นเดียวกับในห้องน้ำ จะทำให้เสี่ยงต่อการลื่นล้มมากขึ้น การป้องกันการลื่นล้มจึงเป็นทางออกที่ดีที่สุด จระเข้มีผลิตภัณฑ์ที่ช่วยลดอุบัติเหตุจากการลื่นล้มเมื่อเจอกระเบื้องเปียกน้ำ คือ น้ำยาจระเข้ กันพื้นลื่น ที่จะช่วยให้พื้นกระเบื้องไม่ลื่นเมื่อเปียกน้ำสามารถทำได้เองที่บ้าน จึงหมดห่วงเรื่องอุบัติเหตุจากการลื่นล้มได้

สามารถชมวิธีการสาธิตและวิธีการใช้งานได้ : https://www.youtube.com/watch?v=n9MgTtMcrTU

ศาสตราจารย์ คณาเดช 35 ปีที่โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ

อายุรแพทย์โรคหัวใจ อายุรแพทย์ (แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว) นักบำบัดโรค แพทย์ประจำคลินิก มีวิธีการที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพในการวินิจฉัยและรักษาโรคที่หลากหลายในเด็กและผู้ใหญ่ เขาเป็นหนึ่งในเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญด้านปัญหาความพิการชั่วคราว คุณภาพของการรักษาพยาบาล เขามีความรู้ทางด้านโรคหัวใจและทางเดินอาหาร เขารู้ดีถึงปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุ ใช้วิธีตรวจสอบ Holter และตรวจวัดความดันโลหิตทุกวัน
ทักษะผู้เชี่ยวชาญ:

ความดันโลหิตสูงในทุกรูปแบบ รวมถึงความดันโลหิตสูงในหลอดเลือดแดงทุติยภูมิ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
การรบกวนจังหวะการเต้นของหัวใจ
โรคหัวใจอุดกั้นเรื้อรัง
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่างแบบเฉียบพลัน
โรคหอบหืด
โรคกระเพาะเรื้อรังและแผลในกระเพาะอาหาร
ไตวายเรื้อรัง
ความผิดปกติของลำไส้ทำงาน
โรคกระดูกพรุน

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *